
การผ่าตัดด้วยคลื่นความถี่วิทยุ โดยมีแผลเล็กๆ เหนือหรือใต้เข่าด้วยการสแกนอัลตร้าซาวด์ จากนั้นก็ร้อยท่อเล็กๆ หรือสายสวนเข้าไปในเส้นเลือด แล้วปล่อยพลังงานคลื่นความถี่วิทยุเข้าไปในสายสวน ซึ่งพลังงานคลื่นความถี่วิทยุทำให้เส้นเลือดร้อนขึ้น ทำให้ผนังปิดอย่างมีประสิทธิภาพ ขั้นตอนนี้เหมาะสำหรับเส้นเลือดขอดที่มีขนาดใหญ่
เส้นเลือดขอดที่ขา อาการเป็นอย่างไร
การเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน เช่น ในวัยรุ่น หญิงตั้งครรภ์ หญิงวัยทอง หรือแม้กระทั่งการรับประทานยาเม็ดคุมกำเนิดก็อาจส่งผลทำให้เกิดเส้นเลือดขอดมากขึ้นได้
เส้นเลือดขอดเกิดจากอะไร ปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะเส้นเลือดขอด
บริษัทสมิติเวช จำกัด (มหาชน) เอกสารประกาศความเป็นส่วนตัว ข้อกำหนดการใช้งาน
ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นหลังการฉีดสลายเส้นเลือดฝอยที่ขา
นอกเหนือจากประวัติทางการแพทย์ และการตรวจร่างกายแล้ว ขั้นตอนการวินิจฉัยเส้นเลือดขอดเพิ่มเติม ทำได้โดยการอัลตร้าซาวด์หลอดเลือด เพื่อตรวจการไหลเวียนของเลือดและโครงสร้างของหลอดเลือดที่ขา
ควบคุมน้ำหนักให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม
สาเหตุของการเกิดเส้นเลือดฝอยและเส้นเลือดขอดมีหลายปัจจัย เช่น กรรมพันธุ์ ลักษณะการใช้ชีวิตประจำวัน การเพิ่มความดันในช่องท้อง กรรมพันธุ์เป็นปัจจัยหลักอันหนึ่งที่พบบ่อย ท่านที่มีเส้นเลือดฝอยและเส้นเลือดขอดมักมีประวัติคนในครอบครัวที่เป็นแบบเดียวกัน การใช้ชีวิตประจำวันหรือการทำงานที่ต้องนั่งหรือยืนเฉย ๆ เป็นเวลานาน ๆ ติดต่อกันทุกวันจะทำให้เลือดไหลย้อนกลับไปหัวใจลำบาก เพราะไม่มีการบีบรัดตัวของกล้ามเนื้อน่องเพื่อช่วยส่งเลือดกลับไปที่หัวใจ เลือดที่คั่งอยู่จึงไปดันให้เส้นเลือดดำที่ขาโป่งออก การเพิ่มความดันในช่องท้องเกิดจากหลายสาเหตุ เช่น การเบ่งถ่ายบ่อย ๆในท่านที่ท้องผูกเป็นประจำ หญิงตั้งครรภ์ที่มดลูกค่อย ๆใหญ่ขึ้นและไปกดทับเส้นเลือดดำใหญ่ที่ท้อง
การผ่าตัดส่องกล้อง เป็นการผ่าตัดโดยใช้กล้องวิดีโอขนาดเล็กสอดเข้าไปในขาเพื่อช่วยให้ศัลยแพทย์มองเห็นได้ดีขึ้น และกำจัดเส้นเลือดที่เสียหายออกไป ส่วนใหญ่ผู้ป่วยสามารถกลับบ้านได้ในวันเดียวกัน อย่างไรก็ตาม หากต้องผ่าตัดขาทั้งสองข้าง อาจต้องนอนโรงพยาบาลหนึ่งคืน
ภาวะแทรกซ้อนอันตรายที่อาจพบได้ มีดังนี้
สมัครรับข่าวสาร สมัคร แผนที่โรงพยาบาล
เพิ่มอาหารที่มีฟลาโวนอยด์ สารฟลาโวนอยด์ช่วยเพิ่มการไหลเวียนโลหิต ทำให้เลือดไหลเวียนได้ดี และทำให้โอกาสการเกิดเลือดสะสมในหลอดเลือดลดน้อยลง นอกจากนี้ ยังช่วยลดความดันโลหิตในหลอดเลือด อาหารที่มีฟลาโวนอยด์สูง ได้แก่ ผักต่างๆ รวมทั้งหัวหอม พริกหยวก ผักโขม และบร็อคโคลี่ เส้นเลือดฝอยที่ขา ผลไม้รสเปรี้ยวและองุ่น เชอร์รี่ แอปเปิ้ล และบลูเบอร์รี่ รวมไปถึงโกโก้ กระเทียม
เกิดลิ่มเลือด หรือในกรณีที่ลิ่มเลือดเกิดในหลอดเลือดที่อยู่ใกล้กับผิวหนังมากก็อาจทำให้เกิดการอักเสบของผนังหลอดเลือดดำ หรืออาจนำไปสู่การเกิดภาวะหลอดเลือดที่ขาอุดตันได้ด้วย